วันจันทร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11


หน่วยยานพาหนะ วันพฤหัสบดี
สอนโดยนางสาว รัชดา เทพเรียน


ตัวหนังสือเล็กกว่ารูปภาพ สีตัวอักษรควรมีหลากหลาย สื่อควรเป็นภาพเล็กให้เหมาะสมกับคำ สามารถโยงเนื้อหาที่เราสอนไปยังบุคลากรที่ประกอบอาชีพใรยานพาหนะนั้นๆ "ภาหนะทำให้เกิดอาชีพ" ระหว่างพูดคุยกับเด็กควรมีการจดบันทึกลงกระดานจะทำให้เกิดประสิทธิภาพต่อเด็ก




หน่วยยานพาหนะ วันศุกร์
สอนโดยนางสาวประภัสสร คำบอนพิทักษ์


ถามประสบการณ์เด็กนอกเหนือจากในเพลง สำหรับรถยนต์คำว่ารัดเข็มขัดควรเรียกว่าคาดเข็มขัด พูดถึงเรื่องที่น่าจะเกิดกับเด็ก เช่น ระหว่างที่พ่อขับรถยนต์ควรนั่งคาดเข็มขัด เป็นต้น มีการร้องเพลงแล้วถามถึงประสบการณ์เดิม ควรเว้นช่องไฟให้สวยงามในการเขียนชาร์ตเพลง 





หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่
สอนโดย นางสาวชนากานต์ แสนสุข


หาคำให้กระชับที่เด็กฟังแล้วเข้าใจง่าย นิทานควรดึงภาพออกมาแล้วเอามาติดไม้เป็นตัวละคร ออกมาเล่าดีกว่าเล่าในหนังสือ เล่าเสร็จถามเด็กถึงเนื้อหาในนิทาน





หน่วย สัตว์น่ารัก วันพุธ
สอนโดย นางสาวสุนันทา


คววรสอนปัจจัยการเป็นอยู่ของสัตว์ในการดำรงค์ชีวิต


"การนำเข้าสู่บทเรียน มีเพื่อให้เด็กเกิดความสนใจจะได้เรียนรู้ว่าเรียนอะไร"




หน่วย ผักสดสะอาด






หน่วย ผักสดสะอาด





หน่วยผักสดสะอาด


ครูต้องไม่หลุดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อธิบายเสร็จแล้วให้เด็กมาหยิบ
ผสมแป้ง > แล้วตั้งปัญหา (อยากกินต้องทำยังไง) > ตั้งสมมติฐาน (ทำยังไงผักถึงจะสุก)  บูรณาการวิทยาศาสตร์  จำนวนสิิ่งของที่เราใส่ไปในกระทะ  บูรณาการคณิตศาสตร์ อุปกรณ์ที่ใช้ บูรณาการเทคโนโลยี




หน่วย กลางวันกลางคืน 



บันทึกการเรียนประจำวันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10


หน่วยกลางวันกลางคืน วันอังคาร



ต้องมีการสบตากับเด็กให้ทั่วถึงเวลาสอน หนังสือนิทานควรใช้เล่มใหญ่กว่านี้และไม่ควรนั่งบนเก้าอี้เพราะสูงกว่าระดับที่เด็กนั่งและควรนั่งให้พอดีกับระดับสายตาเด็ก





หน่วย ยานพาหนะ วันอังคาร
สอนโดยนางสาวสุทธิกานต์ กางพาพันธ์



เว้นพื้นที่ในการเขียนตรงกลางที่สัมพันธ์กันของแวนไดอาแกรมให้มากกว่านี้ เรียงลำดับการสอนไม่ถูกต้อง ควรกำหนดขอบเขตของข้อมูลส่วนประกอบที่จะสอนเพื่อป้องกันไม่ให้เราเตลิดไปตามเด็ก ยังขาดขั้นนำที่ชวนให้เด็กตื่นเต้นที่จะเรียนรู้ ในส่วนของภาพประกอบที่นำมามีความใหญ่เหมาะสมดีแล้ว แต่ต้องใส่ความน่าสนใจให้น่าตื่นเต้นมากยิ่งขึ้นโดยการตัดกระดาษเป็น 4 ส่วนมาปิดภาพแล้วเปิดทีละส่วนให้เด็กทายว่า คืออะไร จะเป็นการดึงดูดเด็กให้เกิดความสนในมากยิ่งขึ้น เชื่อมคำพูดที่จะพูดเข้ากับรูปภาพแล้วดึงออกมาให้เด็กมีความรู้มากขึ้น เช่น เด็กๆ คิดว่าภาพนี้คือภาพอะไร , ยานพาหนะอันนี้คือ... , วิ่งบน ถนน ท้องฟ้า หรือในน้ำ เป็นต้น ในตารางเกณฑ์ที่มาเขียนควรมีแค่ สี,ส่วนประกอบ เพราะอย่างอื่นไม่สามารถวัดได้ในภาพ




หน่วยยานพาหนะ วันพุธ
สอนโดยนางสาว ภัทรวรรณ  หนูแก้ว


การเขียนแผนภูมิจะต้องเขียนวนจากขวาไปซ้าย แล้วต้องโยงเส้นระหว่าหัวขอกับคำตอบที่เขียนด้วย เขียนลายมือให้สวยและต้องเขียนให้เร็ว ชาร์ตเพลงเขียนเว้นช่องไฟให้สวยงาม



หน่วยครอบครัวของฉัน วันพุธ
สอนโดยนางสาวปัณฑิตา คล้ายสิงห์


ไม่เห็นถึงประเด็นที่จะสอนขาดกระบวนการสอน



หน่วยครอบครัวของฉัน วันพฤหัสบดี
สอนโดยนางสาวปรางชมพู บุญชม


ไม่มีขั้นนำ ควรถามประสบการณ์เดิมในบ้านของเด็กๆีใครบ้าง ชาร์ตความสัมพันธ์ต้องเริ่มจากบุคคลที่ใกล้ตัวเด็กก่อนไล่ขึ้นไปจนถึงปู่ย่าตายาย ควรนำเป็นภาพมาติด เรียนรู้ไปทีละรูป






หน่วยอาหารหลัก 5 หมู่  วันพุธ
สอนโดยนางสาวกรกช


สื่อภาพที่นำมาสอนมีขนาดเล็กเกินไป ต้องมีภาพใหญ่ให้เด็กเห็นก่อนหรือไม่ก็แจกเด็กแล้วให้เด็กแยกก่อนว่าเป็นผักหรือผลไม้หรือแยกตามหมวด แล้วใส่ตะกร้าให้เด็กส่งต่อเป็นการบูรณาการเข้ากับคณิตศาสตร์จากนั้นครูพูดว่าไหนคนเก่งออกมาหน้าชั้นเพื่อนำมาติด ครูถามเด็กว่าได้ภาพอะไร , จัดเป็นกลุ่มผักหรือผลไม้ , ออยู่ในหมูอะไร


บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสที่ 20 เมษายน 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9 


กลุ่ม อาหารหลัก 5หมู่

วันจันทร์ สอนโดย นางสาว เปมิกา ชุติมาสวรรค์

ประเภทของอาหาร 5 หมู่






     ร้องเพลงในขั้นนำเเละถามเด็กๆว่าในเนื้อเพลงมีประเภทอะไรบ้าง
จากนั้นครูให้เด็กๆดูรูปภาพอาหารในหมู่ต่างๆ จากนั้นครูให้เด็กนับ1-5 เพื่อเเบ่งกลุ่มเด็ก เมื่อเด็กนั่งเป็นกลุ่ม ครูก็เเจกจิ๊กซอล ให้เด็กช่วยกันตอรูปภาพอาหารในหมู่ๆต่างๆ จากนั้นครูก็สรุปสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่


หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่ วันอังคาร

สอนโดย นางสาว จงรักษ์  หลาวเหล็ก





โดยครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง ในคำคล้องจองมีชื่ออาหารอะไรบ้าง
จากนั้นครูขอตัวเเทนเด็กๆออกมาหยิบภาพเพื่อเเบ่งตามหมวดหมู่และให้เด็กติดภาพ โดยครูแบ่งตารางเป็น 2 ช่อง คือ คาร์โบไฮเดรต กับโปรตีน
จากนั้นครูก็สรุปให้เด็กฟังว่ามีอะไรบ้าง



หน่วย ข้าว วันจันทร์

สอนโดย นางสาว ยุภา ธรรมโคตร





โดยครูร้องเพลงข้าวให้เด็กๆฟังจากนั้นครูอธิบายว่าข้าวมีสายพันธ์อะไรบ้างเเละให้เด็กๆได้สังเกตความเเตกต่างของข้าวเเต่ละสายพันธุ์



หน่วย ข้าว วันอังคาร
สอนโดย นางสาว ประภัสสร สีหบุตร




โดยครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง
จากนั้นให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างระหว่างข้าวสารเเละข้าวเหนียว เเละให้เด็กๆช่องกันบอกลักษณะของข้าว ทั้ง 2 ชนิด
จากนั้นครูเปรียบเทียบให้เด็กเห็นความเเตกต่างของข้าวทั้ง 2 ชนิด



หน่วย ผักสดสะอาด วันอังคาร

สอนโดย นางสาว ศุทธินี โนนริบูรณ์




โดยครูร้องเพลงผักสดสะอาดให้เด็กๆฟง ให้เด็กๆช่วยกันบอกว่า ในเนื้อเพลง มีส่วนประกอบของผัก นั้นมีอะไรบ้าง เช่น ราก ลำต้น ดอก ใบ
จากนั้นครูนำแครอทเเละผักบุ้งมาให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างเเละเปรียบเทียบให้เด็กๆได้เด็กลักษณะของผักทั้ง 2 ชนิด


เทคนิคที่ใช้

-เรื่องของการใช้เพลง ให้นำเพลงหรือการนำคำคล้องจองที่เกี่ยวกับหน่วยที่เรียน มาเกริ่นนำก่อนเช้าสู่บทเรียน เพื่อดึงดูดความสนใจเด็กๆ
-การใช้ำคำพูดหรือคำที่เหมาะสมเพื่อที่เด็กจะได้เข้าใจง่ายขึ้น
-การนำสื่อมาช่วยในการสอนจะช่วยกระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้มากขึ้น


การนำไปใช้

 -ในเเต่ละหน่วย วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้ เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็กได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว

-รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย

-การสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน



การประเมิน

ประเมินตนเอง

เเต่งกายเรียบร้อย รับฟังคำสั่งครูอย่างตั้งใจ

เเละตอบคำถามด้วยตนเอง


ประเมินเพื่อน

เพื่อนเต่งการเรียบร้อย  เพื่อนช่วยกันคิดตอบคำถามเเละสรุปประเด็น

ช่วยกันแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์


ประเมินอาจารย์

 เเต่งกายสุภาพ สั่งงานได้ครอบคลุมชัดเจน อธิบายงานได้อย่างเข้าใจ

เเละสอนให้คิดคำตอบในสิ่งที่ได้เรียนไป

(อ้างอิงจาก นางสาวรัชดา เทพเรียน)

บันทึกการเรียนประจำวันจันทร์ที่ 27 มีนาคม 2560

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 8


กลุ่ม ครอบครัวของฉัน สอนโดย นางสาว สุจิตรา มาวงศ์

เรื่อง สมาชิกในครอบครัว



กลุ่มยานพาหนะ สอนโดย นางสาว กมลรัตน์  มาลัย 

เรื่อง ประเภทของยานพาหนะ



กลุ่ม ผักสดสะอาด สอนโดย นางสาว รัตนาภรณ์ คงกะพันธ์

เรื่อง ชนิดของผัก


บันทึกการเรียนประจำวันจันทร์ที่ 13 มีนาคม 2560


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7


รับชมนิทาน







           การให้ข้อคิดการช่วยเหลือซึ่งกันเเละกัน
ในปัญหาของคนอื่นเราอาจมองว่าไม่ใช่เรื่องของเราเราเลยไม่คิดอยากจะช่วยเเต่เมื่อนั้นที่ภัยมาถึงเราเเล้วเราจึงคิดได้ในภายหลัง
ไม่ว่าใครที่เดือดร้อนมา ถ้าเขามาขอความช่วยเหลือจากเรา เเล้วเราพอที่จะช่วยเหลือเขาได้ เราก็ควรทำ


      รับชมวิดีโอการเรียนการสอน แบบโครงการ ของโรงเรียนเกษมพิทยา
ในวิดีโอเป็นการเรียนการสอน เรื่องโปรเจ็ค เห็ด
       โดยครูจะถามความคิดเห็นเด็กๆว่า เด็กๆอยากเรียนเรื่องอะไร
เมื่อเลือกเรื่องได้เเล้ว ครูก็จะถามประสบการณ์เดิมของเด็กว่ารู้อะไรเกี่ยวกับเห็ดบ้าง
เด็กบางคนก็ตอบว่าเคยเห็น เคยทาน เป็นต้น ในบางหัวข้อที่เด็กเรียนอาจจะต้องให้ผู้ปกครองหรือผู้รู้มาให้ความรู้กับเด็กๆ หรืออาจพาออกนอกสนาม เช่นการไปที่ซุปเปอร์มาเก็ตเพื่อดูเห็ดชนิดต่างๆ
        จากนั้่นก็เรียนลึกเข้าไป เช่น เห็ดมีกี่สายพันธ์ เห็ดเกิดที่ไหนบ้าง เห็ดนำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง เป็นต้น
จากนั้นครูก็จะนำความรู้เเละสารนิทัศน์มาจัดเเสดงในวันปิดโปรเจ็ค
ก็จะเชิญผู้ปกครองมาชมการจัดเเสดงของเด็กๆในวันนั้นด้วย

วิธีจัดการเรียนการสอนมี 4 ระยะ คือ

      ระยะที่ 1 เริ่มต้นโครงการ เด็กจะร่วมกันคิดเรื่องที่สนใจ
      ระยะที่ 2 ระยะวางแผนโครงการ เป็นช่วงเวลาที่กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้อะไร กำหนดขอบเขตเนื้อหา ระยะเวลาและวิธีการศึกษา
      ระยะที่ 3 ดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ ที่เน้นระบวนการแก้ปัญหา จัดเป็นหัวใจของการสอนแบบโครงการ เพราะเด็กจะได้รับข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ตรงหรือเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานเพราะเด็กได้สนทนา พูดคุยกับบุคคล และสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ ขณะเดียวกันเด็กสามารถค้นความรู้จากแหล่งข้อมูลรอง (Secondary Sources) เช่น การดูวีดีทัศน์ การอ่านหนังสือ เป็นต้น
       ระยะที่ 4 สรุปโครงการ ครูและเด็กร่วมวางแผนสรุปโครงการ เป็นขั้นตอนการประเมินโครงการ ทบทวนการปฏิบัติ และวางแผนโครงการใหม่ วิธีการสรุปโครงการอาจจะให้เด็กนำผลงานที่ได้รับมอบหมายมาแสดงต่อครูแล้วอภิปรายประเด็นปัญหา หรือให้เด็กนำเสนอผลงาน ในรูปของการจัดแสดง จัดเป็นนิทรรศการ หรือสาธิตผลงาน




เรื่องที่เรียนในวันนี้

การสาธิตการสอนในกิจกรรมเสริมประสบการณ์
ตามหน่วยต่างๆ ก่อนที่จะให้นักศึกษาได้ทดลองสอนด้วยตนเอง




         โดยการสอนในหน่วยต่างๆ วันจันทร์ควรจะเขียนใส่แม็ปปิ้งในหัวข้อของความหมายหรือประเภทไว้ เพื่อที่จะได้เป็นเเนวทางเเละเป็นหลักให้กับวันต่อๆไป ของหน่วยเเต่ละหน่วยเเละวันต่อมาจะทำให้เด็กได้ทราบว่าเรียนอะไรไปแล้วบ้าง


เทคนิคที่ใช้

-คำพูดที่ใช้ในการเกริ่นเรื่องหรือคำถามที่กระตุ้นให้เด็กได้คิดเเละช่วยกันหาคำตอบ

-เทคนิคการเขียน การนั่งที่ไม่บังกระดาน

-การใช้คำถามย้ำๆเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็กให้เด็กมีสมาธิการสิ่งที่เรียนอยู่



การนำไปใช้

-ในเเต่ละหน่วย วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้ เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็ฏได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว

-รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย



การประเมิน

ประเมินตนเอง

เเต่งกายเรียบร้อย รับฟังคำสั่งครูอย่างตั้งใจ

เเละตอบคำถามด้วยตนเอง


ประเมินเพื่อน

เพื่อนเต่งการเรียบร้อย  เพื่อนช่วยกันคิดตอบคำถามเเละสรุปประเด็น

ช่วยกันแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์


ประเมินอาจารย์

 เเต่งกายสุภาพ สั่งงานได้ครอบคลุมชัดเจน อธิบายงานได้อย่างเข้าใจ

เเละสอนให้คิดคำตอบในสิ่งที่ได้เรียนไป


(อ้างอิงจาก นางสาวรัชดา เทพเรียน)

บันทึกการเรียนประจำวันจันทร์ ที่ 6 มีนาคม 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6




เพื่อนแต่ละกลุ่มออกมาสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะของวันพุธ-ศุกร์โดยมีหน่วย
1.ครอบครัวของฉัน               2.ผักสดสะอาด
                                               3.ข้าว                                    4.ยานพาหนะ
                                               5.สัตว์น่ารัก




เทคนิคที่ใช้


- การร้องเพลงเราสามารถใส่ท่าประกอบเพลงเพื่อให้เด็กได้ฝึก BBL โดยการตบมือตามจังหวะเพลง



บันทึกการเรียนประจำวันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่5 (เรียนชดเชย)

           เพื่อนแต่ละกลุ่มที่ยังไม่ได้สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจากสัปดาห์ที่และจังหวะ โดยมีหน่วยดังนี้

1. ครอบครัวของฉัน
2. ผักสดสะอาด
3. ข้าว
4. ยานพาหนะ
5. สัตว์น่ารัก